วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี



พระมงคลบุรีเป็นพระพุทธรูปปั้นศิลปะอยุธยาตอนต้น ก็เรียกอู่ทองยุคหลังก็เรียกกูหน้าหนุ่มก็เรียกพุทธลักษณะพระพักตร์สุโขทัยพระองค์ยาวพระชานุสั้น ตัวยาวขาสั้นเป็นเอกลักษณ์ของพระอู่ทองยุคหลังขนาดหน้าตักกว้าง 8 ศอก 1 คืบ คติของคนไทยเมื่อสร้างบ้านสร้างเมืองก็สร้างพระพุทธสถานเป็นหวัดบ้างเป็นศาสนสถานบ้างเพื่อประดิษฐานพระพุทธปฏิมาสำคัญสำหรับสักการะบูชาประจำเมืองขณะเดียวกันก็ขออานุภาพแห่งพระปฏิมานั้นช่วยปกปักรักษาเมืองด้วย ยุคทราวดีสร้างพระพุทธรูปหินเขียวห้อยพระบาทปางเทศนา 4 องค์ประดิษฐานไว้สี่มุมเมืองเรียกพระรักษาเมืองปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่นครปฐม 2 องค์อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครและพิพิธภัณฑ์เจ้าสามพระยา

พระนครศรีอยุธยาแห่งละ 1 องค์ ทางภาคเหนือ มีสร้างบ้านแต่ประดิษฐานในที่เดียวกันหันหลังชนกันหันหน้าออกสี่ทิศ อาราธนาให้ช่วยระวังภัยที่จะมาจากทิศทั้งสี่เช่นวัดภูมินทร์จังหวัดน่านส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์นี้สร้าง 4 องค์เช่นกันพระราชทานไปประดิษฐานสี่มุมประเทศทิศเหนือประดิษฐานที่จังหวัดลำปางทิศตะวันออกประดิษฐานที่จังหวัดสระบุรีทิศใต้ประดิษฐานที่จังหวัดพัทลุงทิศตะวันตกประดิษฐานที่เขาแก่นจันทร์จังหวัดราชบุรีเรียกพระนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ พระมงคลบุรีประดิษฐานณพระวิหาร

หลวงวัดมหาธาตุวรวิหารพระอารามหลวงซึ่งตั้งอยู่เกือบกลางใจเมืองชั้นในเป็นวัดสำคัญประจำเมืองมาตั้งแต่โบราณหันหน้าสู่ทิศตะวันออกด้านหลังสร้างไว้อีกองค์นึงหันหน้าสู่ทิศตะวันตกหันหลังให้กันความหมายคืออะไรธนาให้ช่วยระวังภัยพิบัติหน้าหลัง เรียกค่ารักษาเมืองตามความเชื่อของคนสมัยอยุธยา ตื่นนอนตอนเช้าอาบน้ำล้างหน้าเสร็จแล้วหันหน้าไปทิศ ที่หลวงพ่อประดิษฐานประนมมือเป็นวาจาว่าพุทโธมงคลบุรีนาโถทุกวันจะมีความสวัสดีในชีวิต

วัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองราชบุรีเดิมเรียกว่าวัดหน้าพระธาตุบ้างวัดพระศรีรัตนมหาธาตุบ้างตั้งอยู่เกือบใจกลางเมืองราชบุรีเก่าหรือเมือง หรือหมื่นชัยยะราชบุรีตามที่ปรากฏในศิลาจารึกปราสาทพระขรรค์รัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พุทธศักราช 1725 ถึง 1760